OSI model คืออะไร
OSI เป็นระบบเปิด ( Open System ) ที่อนุญาตให้ระบบที่มีความแตกต่างกันสามารถสื่อสารระหว่างกันได้ กล่าวคือ มาตรบานแบบจำลอง
OSI ที่จัดทำขึ้นมานั้น ก็เพื่อวัตถุประสงค์ให้ระบบที่มีความแตกต่างกันสามารถสื่อสารกันได้ด้วยการ ใช้มาตรบานการสื่อสารที่เป็นสากล โดย
ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องไปเปลี่ยนแปลงฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ใด ๆ อย่างไรก็ตาม แบบจำลอง OSI ไม่ใช่โปรโตคอล ดังที่หลายคนเข้าใจ
กันแต่เป็นเพียงแบบจำลองแนวความคิด ที่ออกแบบมาเพื่อสร้างความเข้าใจในสถาปัตยกรรมเครือข่าย และปัจจุบันก็ได้มีการนำโมเดลนี้มาเป็น
แบบจำลองทางสถาปัตยกรรมหลักสำหรับการ สื่อสารในระดับสากล
1. layer 1 (physical layer) เป็นลักษณะทางกายภาพของการติดต่อระหว่างอุปกรณ์ เช่น ระดับแรงดันไฟฟ้ากระแส อุปกรณ์เชื่อมต่อ ซึ่งจะ
เป็นการเชื่อมต่อระหว่าง node กับ node ในเครือข่ายเดียวกัน
2.layer 2 (data link layer) เป็นส่วนของการกำหนดขอบเขต การเข้ารหัส รวมไปถึงกลไกการป้องกัน เช่น CRC จะเป็นการแจ้งจำนวนbits
ซ้ำ เพื่อป้องกันการส่ง bits ซ้ำ ๆ กัน ซึ่งจะทำให้เกิดลำดับของสัญญาณที่ยาวเกินไป
3. layer 3 (network layer) ลักษณะของ network จะถูกกำหนด เพื่อที่จะแน่ใจได้ว่าข้อมูลจะถูกส่งไปตามเส้นทางที่ได้กำหนด
4. layer 4 (transport layer) จะเป็นการกำหนดช่องทางการติดต่อระหว่าง node 2 node ที่ต้องการ
5.layer 5 (session layer) เมื่อการติดต่อระหว่าง node 2 node ได้เกิดขึ้น ก็จะเริ่มมีการรับส่งสัญญาณการทำงาน
6.layer 6 (presentation layer) ถ้า 2 node ที่กำลังติดต่อกันใช้รูปแบบของข้อมูลที่ต่างกัน เช่น ASCII, extended 16-bit code layer
นี้จะทำการแปลงรูปแบบข้อมูลเพื่อให้สามารถเข้ากันได้
7.layer 7 (application layer) เป็นส่วนของการกำหนด application interface ในการแสดงผล ไม่มีความเกี่ยวข้องกับขั้นตอนการติดต่อสื่อสาร
ลำดับชั้นฟิสิคัส
ลำดับชั้นดาต้าลิงก์
ลำดับชั้นเน็ตเวิร์ก
ลำดับชั้นทรานสปอร์ต
ลำดับชั้นเซสซัน
ลำดับชั้นพรีเนเตชัน
ลำดับชั้นแอปพลิเคชัน
http://www.burapaprachin.ac.th/network/Page201.htm
********************
นางสาว จุไรรัตน์ น้อยรอด ม.5/1 เลขที่ 5
OSI เป็นระบบเปิด ( Open System ) ที่อนุญาตให้ระบบที่มีความแตกต่างกันสามารถสื่อสารระหว่างกันได้ กล่าวคือ มาตรบานแบบจำลอง
OSI ที่จัดทำขึ้นมานั้น ก็เพื่อวัตถุประสงค์ให้ระบบที่มีความแตกต่างกันสามารถสื่อสารกันได้ด้วยการ ใช้มาตรบานการสื่อสารที่เป็นสากล โดย
ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องไปเปลี่ยนแปลงฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ใด ๆ อย่างไรก็ตาม แบบจำลอง OSI ไม่ใช่โปรโตคอล ดังที่หลายคนเข้าใจ
กันแต่เป็นเพียงแบบจำลองแนวความคิด ที่ออกแบบมาเพื่อสร้างความเข้าใจในสถาปัตยกรรมเครือข่าย และปัจจุบันก็ได้มีการนำโมเดลนี้มาเป็น
แบบจำลองทางสถาปัตยกรรมหลักสำหรับการ สื่อสารในระดับสากล
1. layer 1 (physical layer) เป็นลักษณะทางกายภาพของการติดต่อระหว่างอุปกรณ์ เช่น ระดับแรงดันไฟฟ้ากระแส อุปกรณ์เชื่อมต่อ ซึ่งจะ
เป็นการเชื่อมต่อระหว่าง node กับ node ในเครือข่ายเดียวกัน
2.layer 2 (data link layer) เป็นส่วนของการกำหนดขอบเขต การเข้ารหัส รวมไปถึงกลไกการป้องกัน เช่น CRC จะเป็นการแจ้งจำนวนbits
ซ้ำ เพื่อป้องกันการส่ง bits ซ้ำ ๆ กัน ซึ่งจะทำให้เกิดลำดับของสัญญาณที่ยาวเกินไป
3. layer 3 (network layer) ลักษณะของ network จะถูกกำหนด เพื่อที่จะแน่ใจได้ว่าข้อมูลจะถูกส่งไปตามเส้นทางที่ได้กำหนด
4. layer 4 (transport layer) จะเป็นการกำหนดช่องทางการติดต่อระหว่าง node 2 node ที่ต้องการ
5.layer 5 (session layer) เมื่อการติดต่อระหว่าง node 2 node ได้เกิดขึ้น ก็จะเริ่มมีการรับส่งสัญญาณการทำงาน
6.layer 6 (presentation layer) ถ้า 2 node ที่กำลังติดต่อกันใช้รูปแบบของข้อมูลที่ต่างกัน เช่น ASCII, extended 16-bit code layer
นี้จะทำการแปลงรูปแบบข้อมูลเพื่อให้สามารถเข้ากันได้
7.layer 7 (application layer) เป็นส่วนของการกำหนด application interface ในการแสดงผล ไม่มีความเกี่ยวข้องกับขั้นตอนการติดต่อสื่อสาร
ลำดับชั้นฟิสิคัส
ลำดับชั้นดาต้าลิงก์
ลำดับชั้นเน็ตเวิร์ก
ลำดับชั้นทรานสปอร์ต
ลำดับชั้นเซสซัน
ลำดับชั้นพรีเนเตชัน
ลำดับชั้นแอปพลิเคชัน
http://www.burapaprachin.ac.th/network/Page201.htm
********************
นางสาว จุไรรัตน์ น้อยรอด ม.5/1 เลขที่ 5
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น